Change Language:  ภาษาไทย

DOCTOR LEVEL PROGRAMS

Statistics (International Program)

หลักสูตรนานาชาติ
ระยะเวลา: 3 ปี
จำนวนรับเข้า: 5 คน

คุณสมบัติผู้สมัครเข้าศึกษา:

  • เป็นผู้สำเร็จการศึกษาชั้นปริญญาโท สาขาวิชาสถิติ หรือสาขาวิชาคณิตศาสตร์ หรือสาขาวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องหรือสาขาที่เทียบเท่าทั้งในหรือต่างประเทศจากสถาบันการศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรองวิทยฐานะและ มีค่าระดับเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 3.25 สำหรับผู้ที่ได้คะแนนเฉลี่ยต่ำกว่า 3.25 จะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสอบคัดเลือก
  • ต้องส่งผลทดสอบภาษาอังกฤษดังนี้
    a. TU-GET 550 คะแนนขึ้นไป หรือ
    b. Internet-based TOEFLไม่ต่ำกว่า 79 คะแนน หรือ
    c. IELTS 6.0 ขึ้นไป
    ผลสอบต้องไม่เกิน 2 ปี นับถึงวันสมัคร ในกรณีที่ผู้สมัครมีผลคะแนนสอบภาษาอังกฤษต่ำmที่กำหนดแต่มีความโดดเด่นในเรื่องคุณสมบัติการศึกษา มีความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ทำงานวิจัยในสาขาสถิติ หรือ สามารถตอบคำถามในการสอบสัมภาษณ์เชิงวิชาการได้ระดับดีมาก ซึ่งหากคณะกรรมการสอบสัมภาษณ์เห็นว่าผู้สมัครมีคุณสมบัติครบถ้วนสามารถขอให้รับเข้าศึกษาได้เป็นกรณีพิเศษ
  • สำหรับคุณสมบัติอื่นๆให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ว่าด้วยการศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ.2553
  •  การรับเข้าศึกษาจะพิจารณาจากประวัติการศึกษา แนวคิดเกี่ยวกับวิทยานิพนธ์และการสอบปากเปล่าเพื่อรับเข้าศึกษา

จำนวนหน่วยกิต:

วิชาบังคับ 15 หน่วยกิต
วิชาเลือก (อย่างน้อย) 12 หน่วยกิต
ดุษฎีนิพนธ์ 36 หน่วยกิต
รวม – อย่างน้อย 63 เครดิต

ค่าเล่าเรียนต่อภาคการศึกษา:

  • 27,800 บาท / ภาคการศึกษา

สถานที่ศึกษา:

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต

ติดต่อหลักสูตร:

  • คำถามเกี่ยวกับหลักสูตรสถิติ กรุณาติดต่อ
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พัทธ์ชนก ศรีสุรเดชชัย
    patchanok@gmail.com
  • คำถามทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร กรุณาติดต่อ
    คุณมาลัย แก้วกลิ่น
     malai@mathstat.sci.tu.ac.th
    +66 (02) 564-4440 – 59 ต่อ 2518
    ภาควิชาคณิตศาสตร์และสถิติ
    คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
  • คำถามเกี่ยวกับการรับเข้าศึกษา กรุณาติดต่อ
    คุณรุ่งทิพย์ ชาติสวัสดิ์
    คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
     025644440-79 ต่อ 2056

 

Description
For over 50 years, the Department of Mathematics and Statistics of Thammasat University has produced graduates and master-level graduates in applied statistics. In 2005, the department created the Doctor of Philosophy in Statistics program as an international program which allows students to conduct in-depth research in theoretical and applied statistics as well as research between sciences. Students can also hone their personal research skills to the point that they can output works of research on their own and become leaders in their fields.
Research Topics
  • Bayesian Statistics
  • Probability Theory
  • Ecology Statistics
  • Statistical Quality Control
  • Inferences Based on Probability
  • Computational Statistics
  • Mathematical Statistics
  • Statistical Modeling
  • Multi-Variate Statistics
  • Spatial Statistics
Target Occupations After Graduation
Countless questions are asked such as, “What jobs can I apply for after I have my degree in statistics?” In this data-oriented world, there is a high demand for graduates with knowledge and competence in statistics. Your potential goals might include being an expert statistician in academic circles, government, industry or a statistician in public health, medicine, banking or finance. The program’s goal is to prepare doctors of philosophy in statistics with in-depth knowledge. Students will receive knowledge and training such that they can become competent researchers capable of creating new statistical knowledge.

โอกาสในการแลกเปลี่ยนนักศึกษา

นักศึกษาสามารถแลกเปลี่ยนในสถาบันการศึกษาและสถาบันวิจัยชั้นนำต่าง ๆ ซึ่งเป็นเครือข่ายของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ ทั้งในและต่างประเทศ

คำอธิบายหลักสูตร

มากกว่า 50 ปีที่ภาควิชาคณิตศาสตร์และสถิติในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ศูนย์รังสิตได้มีความกว้างหน้าเผยแพร่ความรู้ผ่านระดับปริญญาตรีและปริญญาโทสาขาสถิติ ในปี พ.. ๒๕๔๘ ภาควิชาได้เริ่มก่อตั้งปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาสถิติซึ่งเป็นหลักสูตรนานาชาติที่ทำให้นักศึกษาได้ทำวิจัยเชิงลึกทั้งในทฤษฎีและการประยุกต์ในสถิติศาสตร์ รวมถึงการวิจัยในระหว่างศาสตร์ นอกจากนี้ นักศึกษายังได้ศึกฝนให้มีความเชี่ยวชาญในงานวิจัยด้านที่ตนเองทำจนสามารถผลิตงานวิจัยด้วยตนเองและเป็นแนวหน้าในเรื่องเฉพาะนั้น ๆ

หัวข้องานวิจัย

  • สถิติแบบเบย์
  • ทฤษฎีความน่าจะเป็น
  • สถิติสำหรับนิเวศวิทยา
  • การควบคุมคุณภาพเชิงสถิติ
  • การอนุมานที่อิงกับภาวะน่าจะเป็น
  • การคำนวณเชิงสถิติ
  • คณิตศาสตร์สถิติ
  • ตัวแบบทางสถิติ
  • สถิติหลายตัวแปร
  • สถิติเชิงภูมิศาสตร์

กลุ่มอาชีพเป้าหมายเมื่อจบการศึกษา

มีคำถามมากมายนับไม่ถ้วนว่า “ฉันสามารถทำอาชีพอะไรได้เมื่อมีปริญญาสถิติ ท่ามกลางของยุคข้อมูล ความต้องการบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถในสถิติอยู่มนระดับสูง เป้าหมายของคุณอาจเป็นผู้เชี่ยวชาญสถิติในวงการ วิชาการ รัฐบาล อุตสาหกรรม หรือนักสถิติในด้านสาธารณสุข การแพทย์ การธนาคาร และการเงิน เพื่อเตรียมพร้อมให้ดุษฏีบัณฑิตสาขาสถิติของภาควิชาให้มีความรู้อย่างลึกซึ้ง นักศึกษาจะได้รับการถ่ายถอดและฝึกฝนให้เป็นนักวิจัยที่มีความสามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางด้านสถิติ

โอกาสในการแลกเปลี่ยนนักศึกษา

นักศึกษาสามารถแลกเปลี่ยนในสถาบันการศึกษาและสถาบันวิจัยชั้นนำต่าง ๆ ซึ่งเป็นเครือข่ายของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ ทั้งในและต่างประเทศ

หลักสูตรนานาชาติ
ระยะเวลา: 3 ปี
จำนวนรับเข้า: 5 คน

คุณสมบัติผู้สมัครเข้าศึกษา:

  • เป็นผู้สำเร็จการศึกษาชั้นปริญญาโท สาขาวิชาสถิติ หรือสาขาวิชาคณิตศาสตร์ หรือสาขาวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องหรือสาขาที่เทียบเท่าทั้งในหรือต่างประเทศจากสถาบันการศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรองวิทยฐานะและ มีค่าระดับเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 3.25 สำหรับผู้ที่ได้คะแนนเฉลี่ยต่ำกว่า 3.25 จะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสอบคัดเลือก
  • ต้องส่งผลทดสอบภาษาอังกฤษดังนี้
    a. TU-GET 550 คะแนนขึ้นไป หรือ
    b. Internet-based TOEFLไม่ต่ำกว่า 79 คะแนน หรือ
    c. IELTS 6.0 ขึ้นไป
    ผลสอบต้องไม่เกิน 2 ปี นับถึงวันสมัคร ในกรณีที่ผู้สมัครมีผลคะแนนสอบภาษาอังกฤษต่ำmที่กำหนดแต่มีความโดดเด่นในเรื่องคุณสมบัติการศึกษา มีความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ทำงานวิจัยในสาขาสถิติ หรือ สามารถตอบคำถามในการสอบสัมภาษณ์เชิงวิชาการได้ระดับดีมาก ซึ่งหากคณะกรรมการสอบสัมภาษณ์เห็นว่าผู้สมัครมีคุณสมบัติครบถ้วนสามารถขอให้รับเข้าศึกษาได้เป็นกรณีพิเศษ
  • สำหรับคุณสมบัติอื่นๆให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ว่าด้วยการศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ.2553
  •  การรับเข้าศึกษาจะพิจารณาจากประวัติการศึกษา แนวคิดเกี่ยวกับวิทยานิพนธ์และการสอบปากเปล่าเพื่อรับเข้าศึกษา

จำนวนหน่วยกิต:

วิชาบังคับ 15 หน่วยกิต
วิชาเลือก (อย่างน้อย) 12 หน่วยกิต
ดุษฎีนิพนธ์ 36 หน่วยกิต
รวม – อย่างน้อย 63 เครดิต

ค่าเล่าเรียนต่อภาคการศึกษา:

  • 27,800 บาท / ภาคการศึกษา

สถานที่ศึกษา:

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต

ติดต่อหลักสูตร:

  • คำถามเกี่ยวกับหลักสูตรสถิติ กรุณาติดต่อ
    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พัทธ์ชนก ศรีสุรเดชชัย
    patchanok@gmail.com
  • คำถามทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร กรุณาติดต่อ
    คุณมาลัย แก้วกลิ่น
     malai@mathstat.sci.tu.ac.th
    +66 (02) 564-4440 – 59 ต่อ 2518
    ภาควิชาคณิตศาสตร์และสถิติ
    คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
  • คำถามเกี่ยวกับการรับเข้าศึกษา กรุณาติดต่อ
    คุณรุ่งทิพย์ ชาติสวัสดิ์
    คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
     025644440-79 ต่อ 2056