ผลงานวิจัย ศึกษาผลของยางธรรมชาติมาลิเอตอิพ็อกซิไดซ์เป็นสารเคลือบผิวในพอลิเมอร์ชีวภาพ

16 มิ.ย. 2021 | ผลงานวิจัย

ศึกษาผลของยางธรรมชาติมาลิเอตอิพ็อกซิไดซ์เป็นสารเคลือบผิวในพอลิเมอร์ชีวภาพ

Influence of maleate epoxidized natual rubber as coating material for biopolymer

รองศาสตราจารย์ ดร.สอาด ริยะจันทร์ สาขาวิชาเคมี

บทคัดย่อ (ภาษาไทย)

วัสดุเชิงประกอบทางชีวภาพ ถูกเตรียมมาจากการผสมยาง คาร์บอกซีเลตเต สไตรีน บิวไตไดอีน (CSBR) แป้งมันสำปะหลัง (CS) และเส้นใยเซลลูโลส (CF). พอลิเมอร์เชิงประกอบทางชีวภาพ CSBR/CS/CF ถูกเคลือบด้วย CSBR ด้วยวิธีการเคลือบ ได้วัสดุเชิงประกอบ CSBR/CS/CF เพื่อปรับปรุงสมบัติการต้านทานน้ำ ปริมาณความชื้น และ การดูดซับความชื้น มุมสัมผัสทางฟิสิกส์ของวัสดุเชิงประกอบ CSBR/CS/CF มีค่าเท่ากับ ~70° และการบวมของวัสดุเชิงประกอบมีค่าเท่ากับ ~10% ในน้ำ สมบัติการดูดซับความชื้นมีค่าลดลงเนื่องจากความไฮโดรโฟบิกของ SBR ใน CSBR ทำให้การดูดซับความชื้นได้น้อยลง CSBR/CS/CF ความหนาของวัสดุเชิงประกอบมีค่าเพิ่มขึ้นตามปริมาณของ DRCของวัสดุเคลือบ CSBR ภาพถ่าย SEM ของวัสดุเชิงประกอบ ไม่เกิดการแยกเฟสระหว่าง เมตริกซ์เชิงประกอบ CSBR/CS/CF และวัสดุใช้ในการเคลือบ CSBR อย่างไรก็ตามสมบัติการดึงยืดของพอลิเมอร์เชิงประกอบมีค่าลดลงตามปริมาณของ DRC ของสารเคลือบ สมบัติมุมสัมผัสทางฟิสิกส์ของพอลิเมอร์เชิงประกอบ พอลิเมอร์เชิงประกอบชนิดนี้ถูกนำมาใช้งานการห่อหุ้มสารสกัดสะเดา หลังจากใช้งานพอลิเมอร์เชิงประกอบแตกสลายทางชีวภาพได้ง่าย เนื่องจากแป้งมันสำปะหลังเป็นองค์ประกอบ วัสดุเชิงประกอบสามารถควบคุมการปลดปล่อยของสารสกัดสะเดา Aza A และมีสมบัติทนต่อแสงยูวีได้เป็นอย่างดี

Abstract

The biocomposite was made from the blend of carboxylated styrene-butadiene rubber (CSBR), cassava starch (CS) and cellulose fiber (CF). Coating of the CSBR onto the CSBR/CS/CF biocomposites by immersion method which produced the CSBR-coated CSBR/CS/CF composites with improving the water resistance, moisture content, and moisture absorption. The contact angle of all CSBR coated CSBR/CS/CF composites was ~70° and the swelling ratio of sample was ~10% in water medium. The decrease of absorption might be due to the existence of the hydrophobic SBR in the CSBR molecular structure rending the more hydrophobicity to the coated CSBR/CS/CF composite surface. The thickness and percentage weight gain increased as a function of the dry rubber content (DRC) of the CSBR coating. SEM micrographs showed no phase separation between the CSBR/CS/CF composite and CSBR coating layer. However, the tensile value of coated composites decreased when compared with uncoated sample. Also, the highest CSBR coating content did not the effect on the degree of contact angle. This was might be probably due to existing of carboxyl groups in coating layer. These results provided information that the coating concentration was an important factor to the surface and bulk properties of the CSBR/CS/CF composites. After that, the CSBR coating CSBR/CS/CF composites were used to a matrix for encapsulated neem Aza A and results were accept for a good matrix for neem Aza A controlling release and photostability.