เปลี่ยนภาษา:  English

ปริญญาโท

สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์

หลักสูตรภาษาไทย ระบบทวิภาค 
ระยะเวลา: 2 ปี
จำนวนรับเข้า: 25 คน

คุณสมบัติผู้สมัครเข้าศึกษา:

เป็นผู้สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าระดับปริญญาตรีในด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือสาขาอื่นจากสถาบันการศึกษาในหรือต่างประเทศซึ่งสภามหาวิทยาลัยรับรองวิทยฐานะ
หากผู้ที่ได้รับเข้าศึกษาและยังมีพื้นฐานทางสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ไม่เพียงพอ ผู้เข้าศึกษาอาจถูกพิจารณาให้ศึกษาเพิ่มเติมรายวิชาเสริมพื้นฐานเกี่ยวกับสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ โดยไม่นับหน่วยกิต

จำนวนหน่วยกิต:

หลักสูตรภาษาไทย ระบบทวิภาค ระยะเวลาศึกษา 2 ปี
จำนวนหน่วยกิตรวม 36 หน่วยกิต เลือกศึกษาได้ 2 แผน

แผน ก แบบ ก2 (ศึกษารายวิชาและทำวิทยานิพนธ์)
1) หมวดวิชาบังคับ 15 หน่วยกิต
2) หมวดวิชาเลือก 9 หน่วยกิต
3) วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต

แผน ข (ศึกษารายวิชาและทำสารนิพนธ์)
1) หมวดวิชาบังคับ 15 หน่วยกิต
2) หมวดวิชาเลือก 15 หน่วยกิต
3) สารนิพนธ์ 6 หน่วยกิต

ค่าเล่าเรียนต่อภาคการศึกษา:

ในการศึกษาตลอดหลักสูตร 2 ปี รวมเป็นเงินทั้งสินโดยประมาณ 200,000 บาท

สถานที่ศึกษา:

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต

ติดต่อหลักสูตร:

โครงการปริญญาโทภาคพิเศษ สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์
คุณพรรนิภา มาสขาว
  : master@cs.tu.ac.th
  : 02-986-9157
 : M.S. program in Computer Science at Thammasat University
http://www.cs.tu.ac.th/graduate.php

คำอธิบายหลักสูตร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตที่มีความเชี่ยวชาญเชิงลึกทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ในสาขาเฉพาะทางได้แก่ สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ สาขาคอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์คและซอฟต์แวร์ระบบ สาขาวิทยาการข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้สามารถนำความรู้ที่ได้มาพัฒนาสร้างสรรค์งานวิจัยใหม่ที่มีประโยชน์ต่อสังคม รวมทั้งเพิ่มพูนความสามารถทางสายอาชีพในภาคอุตสาหกรรม

ผู้เรียนที่มีความสนใจในอาชีพทางสายวิจัย หรือศึกษาต่อในระดับมหาบัณฑิตสามารถเลือกศึกษาในแผนที่เน้นการวิจัยเพื่อฝึกทักษะในการคิดค้น และทดลองให้เกิดความรู้ใหม่ ในขณะที่ผู้เรียนที่มีความสนใจในอาชีพทางภาคอุตสาหกรรมสามารถเลือกศึกษาในแผนที่เน้นการเรียนรู้เชิงลึก เพื่อนำความรู้ดังกล่าวไปประยุกต์ใช้งานจริง

หัวข้องานวิจัย

• วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
• คอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์คและซอฟต์แวร์ระบบ (Computer Network and System Software)
• ความมั่นคงปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์ (Computer Security)
• ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)
• การประมวลผลภาษาธรรมชาติ (Natural Language Processing)
• การประมวลผลและวิเคราะห์ภาพ (Image Processing and Analysis)
• การจัดการและวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data)
• วิทยาการข้อมูล (Data Science)
• ประสบการณ์ผู้ใช้ระบบ (User Experience) และ การปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนกับคอมพิวเตอร์ (Human-computer Interaction)

กลุ่มอาชีพเป้าหมายเมื่อจบการศึกษา

กลุ่ม 1 อาชีพในสายวิชาการและการวิจัย
1 นักวิจัย
2 นักวิชาการ
3 ครู อาจารย์ ในสถาบันการศึกษา

กลุ่ม 2 อาชีพในภาคอุตสาหกรรม
1. นักพัฒนาซอฟต์แวร์
2. สถาปนิกซอฟต์แวร์
3. นักวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน
4. นักทดสอบระบบ
5. วิศวกรเครือข่าย หรือวิศวกรระบบประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ
6. วิศวกรด้านความมั่นคงปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์
7. นักออกแบบประสบการณ์ผู้ใช้
8. ผู้ให้คำปรึกษาเฉพาะทาง

โอกาสในการแลกเปลี่ยนนักศึกษา

นักศึกษาสามารถแลกเปลี่ยนในสถาบันการศึกษาและสถาบันวิจัยชั้นนำต่าง ๆ ซึ่งเป็นเครือข่ายของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ ทั้งในและต่างประเทศ

คำอธิบายหลักสูตร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตที่มีความเชี่ยวชาญเชิงลึกทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ในสาขาเฉพาะทางได้แก่ สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ สาขาคอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์คและซอฟต์แวร์ระบบ สาขาวิทยาการข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้สามารถนำความรู้ที่ได้มาพัฒนาสร้างสรรค์งานวิจัยใหม่ที่มีประโยชน์ต่อสังคม รวมทั้งเพิ่มพูนความสามารถทางสายอาชีพในภาคอุตสาหกรรม

ผู้เรียนที่มีความสนใจในอาชีพทางสายวิจัย หรือศึกษาต่อในระดับมหาบัณฑิตสามารถเลือกศึกษาในแผนที่เน้นการวิจัยเพื่อฝึกทักษะในการคิดค้น และทดลองให้เกิดความรู้ใหม่ ในขณะที่ผู้เรียนที่มีความสนใจในอาชีพทางภาคอุตสาหกรรมสามารถเลือกศึกษาในแผนที่เน้นการเรียนรู้เชิงลึก เพื่อนำความรู้ดังกล่าวไปประยุกต์ใช้งานจริง

หัวข้องานวิจัย

• วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
• คอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์คและซอฟต์แวร์ระบบ (Computer Network and System Software)
• ความมั่นคงปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์ (Computer Security)
• ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)
• การประมวลผลภาษาธรรมชาติ (Natural Language Processing)
• การประมวลผลและวิเคราะห์ภาพ (Image Processing and Analysis)
• การจัดการและวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data)
• วิทยาการข้อมูล (Data Science)
• ประสบการณ์ผู้ใช้ระบบ (User Experience) และ การปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนกับคอมพิวเตอร์ (Human-computer Interaction)

กลุ่มอาชีพเป้าหมายเมื่อจบการศึกษา

กลุ่ม 1 อาชีพในสายวิชาการและการวิจัย
1 นักวิจัย
2 นักวิชาการ
3 ครู อาจารย์ ในสถาบันการศึกษา

กลุ่ม 2 อาชีพในภาคอุตสาหกรรม
1. นักพัฒนาซอฟต์แวร์
2. สถาปนิกซอฟต์แวร์
3. นักวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน
4. นักทดสอบระบบ
5. วิศวกรเครือข่าย หรือวิศวกรระบบประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ
6. วิศวกรด้านความมั่นคงปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์
7. นักออกแบบประสบการณ์ผู้ใช้
8. ผู้ให้คำปรึกษาเฉพาะทาง

โอกาสในการแลกเปลี่ยนนักศึกษา

นักศึกษาสามารถแลกเปลี่ยนในสถาบันการศึกษาและสถาบันวิจัยชั้นนำต่าง ๆ ซึ่งเป็นเครือข่ายของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ ทั้งในและต่างประเทศ

หลักสูตรภาษาไทย ระบบทวิภาค 
ระยะเวลา: 2 ปี
จำนวนรับเข้า: 25 คน

คุณสมบัติผู้สมัครเข้าศึกษา:

เป็นผู้สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าระดับปริญญาตรีในด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือสาขาอื่นจากสถาบันการศึกษาในหรือต่างประเทศซึ่งสภามหาวิทยาลัยรับรองวิทยฐานะ
หากผู้ที่ได้รับเข้าศึกษาและยังมีพื้นฐานทางสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ไม่เพียงพอ ผู้เข้าศึกษาอาจถูกพิจารณาให้ศึกษาเพิ่มเติมรายวิชาเสริมพื้นฐานเกี่ยวกับสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ โดยไม่นับหน่วยกิต

จำนวนหน่วยกิต:

หลักสูตรภาษาไทย ระบบทวิภาค ระยะเวลาศึกษา 2 ปี
จำนวนหน่วยกิตรวม 36 หน่วยกิต เลือกศึกษาได้ 2 แผน

แผน ก แบบ ก2 (ศึกษารายวิชาและทำวิทยานิพนธ์)
1) หมวดวิชาบังคับ 15 หน่วยกิต
2) หมวดวิชาเลือก 9 หน่วยกิต
3) วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต

แผน ข (ศึกษารายวิชาและทำสารนิพนธ์)
1) หมวดวิชาบังคับ 15 หน่วยกิต
2) หมวดวิชาเลือก 15 หน่วยกิต
3) สารนิพนธ์ 6 หน่วยกิต

ค่าเล่าเรียนต่อภาคการศึกษา:

ในการศึกษาตลอดหลักสูตร 2 ปี รวมเป็นเงินทั้งสินโดยประมาณ 200,000 บาท

สถานที่ศึกษา:

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต

ติดต่อหลักสูตร:

โครงการปริญญาโทภาคพิเศษ สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์
คุณพรรนิภา มาสขาว
  : master@cs.tu.ac.th
  : 02-986-9157
 : M.S. program in Computer Science at Thammasat University
http://www.cs.tu.ac.th/graduate.php