เปลี่ยนภาษา:  English

ปริญญาตรี

สาขาวิชาเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนายั่งยืน

ภาษาไทย ภาคปกติ
ระยะเวลา: 4 ปี
จำนวนรับเข้า: 45 คน

คุณสมบัติผู้สมัครเข้าศึกษา:

  • ผู้สมัครต้องเป็นผู้สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สายสามัญ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ ต้องเรียนรายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติม รวมกันไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ต้องเรียนรายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติม รวมกันไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต

จำนวนหน่วยกิต:

  • จำนวนหน่วยกิต รวมไม่น้อยกว่า    138 หน่วยกิต
    • วิชาศึกษาทั่วไป                   30 หน่วยกิต 
    • วิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า            102 หน่วยกิต
    • วิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า          6 หน่วยกิต

ค่าเล่าเรียน:

  • ภาคการศึกษาละ 17,300 บาท (เหมาจ่าย)

สถานที่ศึกษา:

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต

ติดต่อหลักสูตร:

สหวิทยาการ สร้างสรรค์นวัตกรรม น้อมนำศาสตร์พระราชา เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

คำอธิบายหลักสูตร

สาขาวิชาเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนายั่งยืนน้อมนำศาสตร์พระราชาและหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นรากฐานในการพัฒนาหลักสูตร โดยบูรณาการองค์ความรู้ด้านต่างๆทั้ง ด้านโยธาและผังเมือง เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ ระบบการเกษตรและการจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม  ซึ่งเป็นการนำองค์ความรู้ศาสตร์ต่าง ๆ ของสาขา ฯ ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นหรือชุมชน อันเป็นฐานสู่การสร้างนวัตกรรมใหม่ที่จำเป็นและสอดคล้องกับบริบทและความต้องการของชุมชน สร้างทักษะการบูรณาการความรู้หลายศาสตร์ในเชิงรุกให้สามารถตอบสนองต่อความความต้องการของตลาดแรงงานทั้งในและต่างประเทศ และ สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainabledevelopment goals : SDGs)

หากเรียนจบสาขานี้สามารถทำงานในหน่วยงานภาคเอกชน รัฐวิสาหกิจ และภาคราชการ ที่ระบุความต้องการบุคลากร ที่สอดคล้องกับความรู้และทักษะ ใน 4 ด้าน คือ

  • หมวดวิชาโยธาและผังเมือง
  • หมวดวิชาการจัดการพลังงาน 
  • หมวดวิชาภูมิสารสนเทศ (รีโมทเซนซิง, ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์, ระบบฐานข้อมูลเชิงพื้นที่) 
  • หมวดวิชาการจัดการทรัพยากรการเกษตร 

นอกจากนี้ยังมีกลุ่มวิชาการจัดการและบูรณาการสำหรับเตรียมความพร้อมให้นักศึกษามีทักษะและความชำนาญในการบูรณาการองค์ความรู้เพื่อแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ

การฝึกงานหรือสหกิจ

นักศึกษาสามารถฝึกงานและทำสหกิจในองค์กรชั้นนำต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ทั้งในและต่างประเทศ ซึ่งเป็นเครือข่ายของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ (ฝึกงานเริ่มต้นในภาคฤดูร้อนของชั้นปีที่ 3 และสิ้นสุดในภาคเรียนแรกของชั้นปีที่ 4) ตามความเชี่ยวชาญเพื่อการศึกษาวิจัยใน 4 ด้าน คือ นักศึกษาสามารถฝึกงานและทำสหกิจในองค์กรชั้นนำต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ทั้งในและต่างประเทศ ซึ่งเป็นเครือข่ายของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ (ฝึกงานเริ่มต้นในภาคฤดูร้อนของชั้นปีที่ 3 และสิ้นสุดในภาคเรียนแรกของชั้นปีที่ 4) ตามความเชี่ยวชาญเพื่อการศึกษาวิจัยใน 4 ด้าน คือ

  • หมวดวิชาโยธาและผังเมือง
  • หมวดวิชาการจัดการพลังงาน
  • หมวดวิชาภูมิสารสนเทศ (รีโมทเซนซิง, ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์, ระบบฐานข้อมูลเชิงพื้นที่)
  • หมวดวิชาการจัดการทรัพยากรการเกษตร

การศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น

บัณฑิตสามารถศึกษาต่อได้ในหลายสาขาวิชา ที่เกี่ยวข้องกับ 4 หมวดวิชา   คือ

  • หมวดวิชาโยธาและผังเมือง
  • หมวดวิชาการจัดการพลังงาน
  • หมวดวิชาภูมิสารสนเทศ (รีโมทเซนซิง, ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์, ระบบฐานข้อมูลเชิงพื้นที่)
  • หมวดวิชาการจัดการทรัพยากรการเกษตร

เช่น วิศวกรรมโยธา วิศวกรรมแหล่งน้ำวิศวกรรมอุตสาหการ การจัดการอุตสาหกรรม วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม วิศวกรรมเกษตร เทคโนโลยีพลังงานการจัดการพลังงาน ภูมิสารสนเทศ สถาปัตยกรรมและการวางผังเมือง เศรษฐศาสตร์ และการบริหารธุรกิจ เป็นต้น

กลุ่มอาชีพเป้าหมายเมื่อจบการศึกษา

บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากสาขาวิชาสามารถทำงานได้ทั้งภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องกับ 4 หมวดวิชา คือ บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากสาขาวิชาสามารถทำงานได้ทั้งภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องกับ 4 หมวดวิชา คือ 

  • หมวดวิชาโยธาและผังเมือง
  • หมวดวิชาการจัดการพลังงาน 
  • หมวดวิชาภูมิสารสนเทศ (รีโมทเซนซิง, ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์, ระบบฐานข้อมูลเชิงพื้นที่) 
  • หมวดวิชาการจัดการทรัพยากรการเกษตร 

เช่น พนักงานบริษัท ผู้ประกอบการธุรกิจส่วนตัว พนักงานราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ อาจารย์นักวิชาการหรือนักวิจัยในสถาบันการศึกษาต่างๆ 

สหวิทยาการ สร้างสรรค์นวัตกรรม น้อมนำศาสตร์พระราชา เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

คำอธิบายหลักสูตร

สาขาวิชาเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนายั่งยืนน้อมนำศาสตร์พระราชาและหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นรากฐานในการพัฒนาหลักสูตร โดยบูรณาการองค์ความรู้ด้านต่างๆทั้ง ด้านโยธาและผังเมือง เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ ระบบการเกษตรและการจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม  ซึ่งเป็นการนำองค์ความรู้ศาสตร์ต่าง ๆ ของสาขา ฯ ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นหรือชุมชน อันเป็นฐานสู่การสร้างนวัตกรรมใหม่ที่จำเป็นและสอดคล้องกับบริบทและความต้องการของชุมชน สร้างทักษะการบูรณาการความรู้หลายศาสตร์ในเชิงรุกให้สามารถตอบสนองต่อความความต้องการของตลาดแรงงานทั้งในและต่างประเทศ และ สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainabledevelopment goals : SDGs)

หากเรียนจบสาขานี้สามารถทำงานในหน่วยงานภาคเอกชน รัฐวิสาหกิจ และภาคราชการ ที่ระบุความต้องการบุคลากร ที่สอดคล้องกับความรู้และทักษะ ใน 4 ด้าน คือ

  • หมวดวิชาโยธาและผังเมือง
  • หมวดวิชาการจัดการพลังงาน 
  • หมวดวิชาภูมิสารสนเทศ (รีโมทเซนซิง, ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์, ระบบฐานข้อมูลเชิงพื้นที่) 
  • หมวดวิชาการจัดการทรัพยากรการเกษตร 

นอกจากนี้ยังมีกลุ่มวิชาการจัดการและบูรณาการสำหรับเตรียมความพร้อมให้นักศึกษามีทักษะและความชำนาญในการบูรณาการองค์ความรู้เพื่อแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ

การฝึกงานหรือสหกิจ

นักศึกษาสามารถฝึกงานและทำสหกิจในองค์กรชั้นนำต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ทั้งในและต่างประเทศ ซึ่งเป็นเครือข่ายของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ (ฝึกงานเริ่มต้นในภาคฤดูร้อนของชั้นปีที่ 3 และสิ้นสุดในภาคเรียนแรกของชั้นปีที่ 4) ตามความเชี่ยวชาญเพื่อการศึกษาวิจัยใน 4 ด้าน คือ นักศึกษาสามารถฝึกงานและทำสหกิจในองค์กรชั้นนำต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ทั้งในและต่างประเทศ ซึ่งเป็นเครือข่ายของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ (ฝึกงานเริ่มต้นในภาคฤดูร้อนของชั้นปีที่ 3 และสิ้นสุดในภาคเรียนแรกของชั้นปีที่ 4) ตามความเชี่ยวชาญเพื่อการศึกษาวิจัยใน 4 ด้าน คือ

  • หมวดวิชาโยธาและผังเมือง
  • หมวดวิชาการจัดการพลังงาน
  • หมวดวิชาภูมิสารสนเทศ (รีโมทเซนซิง, ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์, ระบบฐานข้อมูลเชิงพื้นที่)
  • หมวดวิชาการจัดการทรัพยากรการเกษตร

การศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น

บัณฑิตสามารถศึกษาต่อได้ในหลายสาขาวิชา ที่เกี่ยวข้องกับ 4 หมวดวิชา   คือ

  • หมวดวิชาโยธาและผังเมือง
  • หมวดวิชาการจัดการพลังงาน
  • หมวดวิชาภูมิสารสนเทศ (รีโมทเซนซิง, ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์, ระบบฐานข้อมูลเชิงพื้นที่)
  • หมวดวิชาการจัดการทรัพยากรการเกษตร

เช่น วิศวกรรมโยธา วิศวกรรมแหล่งน้ำวิศวกรรมอุตสาหการ การจัดการอุตสาหกรรม วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม วิศวกรรมเกษตร เทคโนโลยีพลังงานการจัดการพลังงาน ภูมิสารสนเทศ สถาปัตยกรรมและการวางผังเมือง เศรษฐศาสตร์ และการบริหารธุรกิจ เป็นต้น

กลุ่มอาชีพเป้าหมายเมื่อจบการศึกษา

บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากสาขาวิชาสามารถทำงานได้ทั้งภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องกับ 4 หมวดวิชา คือ บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากสาขาวิชาสามารถทำงานได้ทั้งภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องกับ 4 หมวดวิชา คือ 

  • หมวดวิชาโยธาและผังเมือง
  • หมวดวิชาการจัดการพลังงาน 
  • หมวดวิชาภูมิสารสนเทศ (รีโมทเซนซิง, ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์, ระบบฐานข้อมูลเชิงพื้นที่) 
  • หมวดวิชาการจัดการทรัพยากรการเกษตร 

เช่น พนักงานบริษัท ผู้ประกอบการธุรกิจส่วนตัว พนักงานราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ อาจารย์นักวิชาการหรือนักวิจัยในสถาบันการศึกษาต่างๆ 

ภาษาไทย ภาคปกติ
ระยะเวลา: 4 ปี
จำนวนรับเข้า: 45 คน

คุณสมบัติผู้สมัครเข้าศึกษา:

  • ผู้สมัครต้องเป็นผู้สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สายสามัญ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ ต้องเรียนรายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติม รวมกันไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ต้องเรียนรายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติม รวมกันไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต

จำนวนหน่วยกิต:

  • จำนวนหน่วยกิต รวมไม่น้อยกว่า    138 หน่วยกิต
    • วิชาศึกษาทั่วไป                   30 หน่วยกิต 
    • วิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า            102 หน่วยกิต
    • วิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า          6 หน่วยกิต

ค่าเล่าเรียน:

  • ภาคการศึกษาละ 17,300 บาท (เหมาจ่าย)

สถานที่ศึกษา:

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต

ติดต่อหลักสูตร: