นักศึกษา SCI-TU คว้ารางวัลจากงาน มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2565 Thailand research Expo 2022

5 ส.ค. 2022 | ข่าวทั่วไป

นักศึกษา SCI-TU คว้ารางวัลจากงาน มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2565 Thailand research Expo 2022
“วิจัยเพื่อพัฒนาประเทศสู่ความมั่งคง มั่งคั่ง และยั่งยืน”

ระหว่างวันที่ 1-5 สิงหาคม 2565
ณ ห้องประชุม ชั้น 22-23 โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์และบางกอกคอนเวนซันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ

ซึ่งการแข่งขันในครั้งนี้มีนักศึกษาของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จากหลากหลายสาขาวิชาได้รับรางวัล ซึ่งประกอบไปด้วย
1. สาขาวิชาเทคโนโลยีการเษตร
2. สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ
3. สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ศูนย์ลำปาง

.

นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร

ผลงานนวัตกรรมเรื่อง นวัตกรรมการจัดการน้ำและธาตุอาหารแบบลุ่มน้ำสำหรับการผลิตทุเรียน
โดย นายธนวัฒน์ โชติวรรณ นักศึกษาระดับปริญญาโท หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร

รางวัลผลงาน ถ้วยรางวัล ดีเด่น

  • เหรียญทอง
  • ประกาศณียบัตร
  • เงินรางวัล 30,000 บาท
  • ประกาศณียบัตร

รางวัลข้อเสนอ ระดับ ดี

  • โล่รางวัล
  • เงินรางวัล 10,000 บาท
  • ประกาศณียบัตร

ผลงานนวัตกรรมเรื่อง สารละลายช่วยผสมเกสรทุเรียน
โดย นางสาวสุพรรษา เจริญสุข นางสาวปานัดดา เจริญจันทร์

รางวัลผลงาน ถ้วยรางวัล ดีมาก

  • เหรียญทอง
  • ประกาศณียบัตร
  • เงินรางวัล 15,000 บาท
  • ประกาศณียบัตร

รางวัลข้อเสนอ ระดับ ดีมาก

  • โล่รางวัล
  • เงินรางวัล 10,000 บาท
  • ประกาศณียบัตร

ผลงานนวัตกรรมเรื่อง เม็ดบีดจุลินทรีย์ร่วมย่อยสลายอินทรีวัตถุ ชักนำรากเเก้ปัญหารากเน่าโคนเน่าในทุเรียน
โดย นางสาว อภัสราพร ภิรมย์ชม นายประกอบ เกิดท้วม

รางวัลผลงาน ถ้วยรางวัล ดี

  • เหรียญทอง
  • เงินรางวัล 10,000 บาท
  • ประกาศณียบัตร

โดยผลงานทั้งหมดมี รศ.ดร.วรภัทร วชิรยากรณ์ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา

.

ผลงานนวัตกรรมเรื่อง 3P ปุ๋ยคอกอัดเม็ดผสมจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์
โดย นายสุวิจักขณ์ ขาวทอง นางสาวเทียนนภา รองพนัง

ซึ่งมี รองศาสตราจารย์ ดร.ดุสิต อธินุวัฒน์ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา

รางวัลผลงานนวัตกรรมระดับปริญญาตรี ระดับดีเด่น ประกอบด้วย

  • ถ้วยรางวัล
  • เหรียญทอง
  • เกียรติบัตร
  • เงินรางวัล 20,000 บาท

รางวัลการเขียนข้อเสนอโครงการนวัตกรรมระดับปริญญาตรี ระดับดีเด่น

  • โล่รางวัล
  • เกียรติบัตร
  • เงินรางวัล 15,000 บาท

.

ผลงาน 3P ปุ๋ยคอกอัดเม็ดผสมจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์

นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

ผลงานนวัตกรรม รี-มอส: มอลโตโอลิโกแซคคาไรด์ (MOS) จากกากมันสำปะหลังโดยกระบวนการทางเอนไซม์ที่ไม่ใช้ความร้อน
โดย นายดารัณ โปร่งจิต น.ส. ภาวรินทร์ บลทอง นักศึกษาปริญญาโท หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ
อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร.หทัยกาญจน์ เลกากาญจน์
อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม ดร.เบญจรัตน์ บรรเทิงสุข จาก สวทช.

รางวัลเหรียญเงิน นวัตกรรมสายอุดมศึกษา

.

ผลงานนวัตกรรม รี-มอส: มอลโตโอลิโกแซคคาไรด์ (MOS) จากกากมันสำปะหลังโดยกระบวนการทางเอนไซม์ที่ไม่ใช้ความร้อน

นักศึกษาสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนย์ลำปาง คว้ารางวัล 2 เหรียญเงิน 

ผลงานนวัตกรรมเรื่อง ระบบประเมินความเสี่ยงในการติดเชื้อโควิด 19 ในร้านอาหาร
รางวัล เหรียญเงิน ด้านการพัฒนาเทคโนโลยี ปัญญาประดิษฐ์ อุปกรณ์อัจฉริยะ

โดย นายพชร มีวงศ์อุโฆษ และภาณุวัฒน์ สุขเมือง อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ ดร.กฤตคม ศรีจิรานนท์

ผลงานนวัตกรรมเรื่อง ระบบติดตามท่าทางการนอนหลับเพื่อระบุตำแหน่งเสี่ยงของการเกิดแผลกดทับ
รางวัล เหรียญเงิน ด้านการสาธารณสุข สุขภาพ และเทคโนโลยีทางการแพทย์

โดย นายอภิสิทธิ์ วงศ์สอน และนายกนกพล แซ่ว่าง อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ ดร.กฤตคม ศรีจิรานนท์

.

โดยผลงานทั้งหมดมี อาจารย์ ดร.กฤตคม ศรีจิรานนท์ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา

.

นักศึกษาสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนย์ลำปาง